*PEOPLES MOVEMENTS REJECT RCEP*
*CALL FOR PARLIAMENTARY SCRUTINY OF MEGA TRADE DEAL*

20th July, 2018
Bangkok, Thailand

More than 80 participants representing trade union, farmers, indigenous peoples, health and  patients networks, women’s organisations, academia and civil society organisations  from the region have gathered in Thailand on the sidelines of the 23rd round of negotiation of the Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP), the mega Free Trade Agreement (FTA) currently  being negotiated by 16 countries including the 10 ASEAN countries along with India, China, Japan, South Korea, New Zealand and Australia.

Peoples’ movement have been long expressing concerns that the provisions in RCEP that are currently being negotiated in secret could undermine access to price-lowering generic medicines, negatively impact farmers and indigenous peoples rights to seed and food sovereignty, lock-in privatisation of public services, push workers’ wages down, and restrict the ability of governments to regulate public policies leaving them vulnerable to international lawsuits in secret tribunals.

Press Conference on Human Rights and the Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) in Bangkok, Thailand. Photo: APWLD

“We have grave concerns over TRIPs plus provisions in the RCEP negotiation currently being pushed by South Korea and Japan. Like other countries in the region, Thailand heavily relies on generic medicines, especially for high-cost diseases like HIV & AIDS, cancers, hypertension and heart-diseases. Thailand’s health insurance systems, which are fully and partially subsidised by the government, will be under threat if the lifesaving medicines’ costs become more expensive due to the abuse of patent system,” said Chalermsak Kittitrakul, Access to Medicines Campaign Officer, AIDS Access Foundation.

“Thailand and other countries in Asia are one of the richest in biodiversity. Our bio resources have been passed from generation to generation. By requiring all RCEP countries to join UPOV 1991 or creating national laws that are consistent with UPOV 1991 will allow large, multinational corporations to claim ownership over these, causing tremendous damages to all small scale farmers,” said Mongkol Duangkhiew of Alternative Agricultural network. “We the farmers will not let anyone rob us of our rich biodiversity.”

Joms Salvador, Gabriela National Alliance of Women, Philippines added, “This trade agreement directly impacts women’s human rights, giving multi-national corporations the right to govern at the expense of women’s livelihoods, pushing wages down further with a race to the bottom where women are at the bottom. It is deeply concerning that while this trade agreement directly impacts so many lives, it is not being discussed with those most vulnerable and potentially impacted such as women, farmers, patients, workers, indigenous peoples and other marginalised group.”

“By prioritising the interests of corporations over the well-being of peoples, RCEP poses grave threats to the public interest,” said Shalmali Guttal, Focus on the Global South. “The Investor State Dispute Settlement (ISDS) mechanism will prevent governments from protecting the needs of their populations. The entire raft of new generation trade-investment agreements are building an architecture of impunity for corporations and elites, at the expense of people, the environment and societal well-being.”

A recent civil society assessment of RCEP against criteria for transparency, public participation and parliamentary scrutiny found that the mega trade deal miserably fails on all accounts. “Everyone, from elected parliamentarians concerned about potential job losses in their regions, to journalists investigating impacts on the affordability of life-saving medicines, to peasant organisations concerned about falling agricultural prices due to cheap imports have all been kept in the dark for the past five years,” said Benny Kuruvilla from the Transnational Institute (TNI), India.

Civil societies from the region strongly remind the governments negotiating the RCEP that economic cooperation and multilateralism should be based on equitable, fair and sustainable development. The 16 governments must consider the adverse impact of the mega FTAs and put an end to trade agreements such as RCEP as they only increase protection and power of multinational corporations.

Additional Information

  1. Read the July 2018 report on ‘RCEP- a secret deal’ published by Friends of the Earth International (FOEI), Transnational Institute (TNI), Focus on the Global South, Indonesia for Global Justice (IGJ) and Paung Ku.
  2. Read “How RCEP affects food and agriculture” also available in Khmer, Japanese, Thai, and Korean language.
  3. Read APWLD’s Briefer on RCEP in Thai and English languages.
  4. Watch civil society’s  No RCEP Campaign Video.
  5. Read Asia and the Mega Free Trade Agreements by Focus on the Global South.
  6. Read Trade Liberalization Through Free Trade Agreements (FTAs): Impacts on Agriculture and People in India by Focus on the Global South.

For further information contact


ขบวนการประชาชนต่อต้านความตกลง RCEP

เรียกร้องใหการตรวจสอบของรัฐสภาต่อข้อตกลงการค้าครั้งใหญ

 

20 กรกฎาคม 2561
กรุงเทพฯ ประเทศไทย

ผู้เข้าร่วมกว่า 80 คน ซึ่งเป็นตัวแทนสหภาพแรงงาน เกษตรกร ชนพื้นเมือง เครือข่ายด้านสุขภาพและผู้ป่วย องค์กรสตร นักวิชาการและหน่วยงานภาคประชาสังคมจากในภูมิภาค ได้มาประชุมที่ประเทศไทยในเวทีย่อยของการเจรจารอบที่ 23 ของความตกลงพันธมิตรทางการค้าระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership) (ความตกลง RCEP) ซึ่งเป็นความตกลงการค้าครั้งสําคัญที่อยู่ระหว่างการเจรจาของ

16 ประเทศ ประกอบด้วย 10 ชาติจากอาเซียน รวมทั้งอินเดีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต นิวซีแลนดและออสเตรเลีย

ช่วงที่ผ่านมาขบวนการประชาชนได้แสดงข้อกังวลอย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับตัวบทในความตกลง RCEP ซึ่งอยู่ระหว่างการเจรจาแบบลับ เนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงยาสามัญที่มีราคาถูก ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรและชนพื้นเมือง ในแง่สิทธิด้านเมล็ดพันธุ์และความเป็นเอกราชด้านอาหาร มีเงื่อนไขผูกมัดให้ต้องแปรรูปบริการสาธารณะให้เป็นกิจการของเอกชน กดค่าจ้างของคนงานให้ตํ่าลง และจํากัดบทบาทของรัฐบาลในการกํากับดูแลนโยบายสาธารณะ ส่งผลให้รัฐบาลอาจถูกฟ้องในคณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศที่พิจารณาคดีแบบลับ

“เรากังวลอย่างยิ่งกับข้อบทของ TRIPs plus ซึ่งปรากฏอยู่ในการเจรจาเนื้อหาความตกลง RCEP ทั้งนี้โดยการผลักดันของเกาหลีใต้และญี่ปุ่น เช่นเดียวกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค ประเทศไทยต้องพึ่งพาอย่างมากกับยาสามัญ โดยเฉพาะยาเพื่อรักษาโรคที่มราคาแพงอย่างเช่น เอชไอวีและเอดส มะเร็ง ความดันสูง และโรคหัวใจ ซึ่งจะส่งผลให้ระบบประกันสุขภาพของไทยที่ได้รับการอุดหนุนด้านต้นทุนทั้งหมดและบางส่วนโดยรัฐ ต้องถูกคุกคาม โดยยาที่จําเป็นต่อการรักษาชีวิตอาจมีราคาแพงขึ้นมาก เนื่องจากการปฏิบัติมิชอบต่อระบบสิทธิบัตร” เฉลิมศักด กิตติตระกูล เจ้าหน้าที่รณรงค์เพื่อการเข้าถึงยา มูลนิธิเข้าถึงเอดส์กล่าว

“ประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ในเอเชียต่างมีความหลากหลายด้านชีวภาพมากสุด ทรัพยากรชีวภาพของเราได้ตกทอดมาจากหลายรุ่นคน การกําหนดให้ประเทศภายใต้ความตกลง RCEP ต้องเข้าร่วมเป็นภาคีของอนุสัญญา UPOV 1991 หรือต้องออกกฎหมายระดับชาติที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับอนุสัญญา UPOV 1991 จะส่งผลให้บรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่สามารถอ้างกรรมสิทธิ์เหนือทรัพยากรชีวภาพเหล่าน

และส่งผลรายแรงต่อเกษตรกรรายย่อยทุกคน” มงคล ด้วงเขียว เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกกล่าว “พวกเราที่เป็นเกษตรกรจะไม่ยอมให้ใครปล้นสะดมความหลากหลายทางชีวภาพของเราไป”

จอมส ซัลวาดอร (Joms Salvador) จาก Gabriela National Alliance of Women ฟิลิปปินส์กล่าวเสริมว่า “ความตกลงการค้าฉบับนี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสิทธิมนุษยชนของผู้หญิง เพราะทําให้บรรษัทข้ามชาติมีสิทธิในการปกครอง โดยก่อให้เกิดผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของผู้หญิง มีการกดค่าแรงเพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างดุเดือด โดยผู้หญิงเป็นผู้ได้รับค่าแรงตํ่าสุด เป็นเรื่องน่ากังวลอย่างยิ่งว่า ความตกลงการค้าฉบับนี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อชีวิตคนจํานวนมาก แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีการนํามาปรึกษาหารือกับผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาจได้รับผลกระทบ รวมทั้งผู้หญิง เกษตรกร ผู้ป่วย คนงาน ชนพื้นเมืองและกลุ่มชายขอบอื่น ๆ”

“การให้ความสําคัญกับผลประโยชน์ของบรรษัทเหนือความผาสุกของประชาชน ทําใหความตกลง RCEP เป็นภัยร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ” ชมาล กุตตาล (Shalmali Guttal) จาก Focus on the Global South กล่าว “กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐและเอกชน” (investor state dispute settlement – ISDS) จะขัดขวางไม่ให้รัฐบาลสามารถคุ้มครองความต้องการของประชาชนของตนเองได ชุดของความตกลงด้านการค้า-การลงทุนยุคใหม ล้วนแต่สร้างสถาปัตยกรรมที่เอื้ออํานวยให้บรรษัทและชนชั้นสูงสามารถลอยนวลพ้นผิด โดยปล่อยให้ประชาชนเป็นผู้แบกรับผลกระทบ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความผาสุกของสังคม”

จากการประเมินล่าสุดเกี่ยวกับความตกลง RCEP ของภาคประชาสังคม เปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์ว่าด้วยความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของประชาชนและการตรวจสอบของรัฐสภา เราพบว่าความตกลงการค้าครั้งใหญ่นี้ไม่ผานบททดสอบไม่ว่าในแง่มุมใดเลย “ทุกคน ตั้งแต่สมาชิกรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้งซึ่งกังวลกับโอกาสที่จะสูญเสียการมีงานทําในภูมิภาค ไปจนถึงผู้สื่อข่าวที่สอบสวนผลกระทบต่อยาที่จําเป็นแก่การรักษาชีวิตและมีราคาถูก รวมทั้งองค์กรชาวไร่ชาวนาที่กังวลกับราคาพืชผลที่ตกตํ่าลงเนื่องจากการนําเข้าสินค้าราคาถูก บุคคลเหล่านี้ต่างถูกทอดทิ้งให้อยู่ในความมืดในช่วงห้าปีที่ผ่านมา” เบนน กูรุวิลลา (Benny Kuruvilla) จาก Transnational Institute (TNI) อินเดียกล่าว

ภาคประชาสังคมในภูมิภาคจึงขอกระตุ้นอย่างจริงจัง ให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างการเจรจาความตกลง RCEP คํานึงว่า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและพหุนิยมควรตั้งอยู่บนพื้นฐานการพัฒนาที่เท่าเทียม เป็นธรรมและยั่งยืน รัฐบาลทั้ง 16

ประเทศต้องคํานึงถึงผลกระทบด้านลบจากความตกลงการค้าเสรีครั้งใหญ และต้องยุติความตกลงการค้าอย่างเช่น ความตกลง RCEP เนื่องจากมีแต่จะเพิ่มความคุ้มครองและอํานาจให้กับบรรษัทข้ามชาต

ข้อมูลเพิ่มเติม

  1. โปรดอ่าน รายงานที่เผยแพร่เมื่อเดือนกรกฎาคม 2561 เรื่อง RCEP- a secret deal ของ Friends of the Earth International (FOEI), Transnational Institute (TNI), Focus on the Global South, Indonesia for Global Justice (IGJ) และ Paung Ku
  2. โปรดอ่าน “How RCEP affects food and agriculture” ในภาษา เขมร, ญี่ปุ่น, ไทย, และ เกาหล
  3. โปรดอ่านและดาวน์โหลดเอกสารของ APWLD เกี่ยวกับความตกลง RCEP ทั้งในภาษา ไทย และ อังกฤษ
  4. โปรดด วิดีโอของภาคประชาสังคม No RCEP Campaign Video
  5. Asia and the Mega Free Trade Agreements โดย Focus on the Global South
  6. Trade Liberalization Through Free Trade Agreements (FTAs): Impacts on Agriculture and People in India โดย Focus on the Global South.

สําหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อ

Neha Gupta, APWLD, neha@apwld.org, +66-955 282 396

เฉลิมศักด กิตติตระกูล (จ็อคก) มูลนิธิเข้าถึงเอดส jockey@aidsaccess.com +66-816129551

Shalmali Guttal, Focus on the Global South. s.guttal@focusweb.org +66-813756409